วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2563

เเบบทดสอบพันธะเคมี

1.  หลักฐานสำคัญที่แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร

               . สารมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

               . สารบางชนิดมีสมบัติการนำไฟฟ้า

. การทำให้สารเปลี่ยนสถานะต้องใช้พลังงาน

               . สารแต่ละชนิดมีรูปร่างแตกต่างกัน

2.  สารประกอบที่เกิดจาก  พันธะไอออนิก  เรียกว่า

               . สารประกอบไอออนิก

               . สารโคเวเลนต์

               . สารโลหะ

               . สารโครงผลึกร่างตาข่าย

3.  สารประกอบใดต่อไปนี้  ไม่ได้  เกิดจากพันธะไอออนิก

               . NaF   ,  NaCl

               . NaNO3  ,  NH4F

               . BaSO4  ,  CuS

               . CO2  ,  HCl

4.  ข้อใดเขียนสูตรสารประกอบได้ถูกต้อง

               .  MgCl2  ,  CaCl2

               .  MgO  ,  K2Cl

               .  Li2Cl  ,  Al2O3

               .  Ca2F  ,  Na2S

5.  ข้อใดเรียกชื่อสารได้ถูกต้อง

               .  BaSO4   แบเรียมซัลไฟด์

               .  NaNO3  โซเดียมไนเตรต

               .  NH4Cl    แอมโมเนียมคลอรีน

               .   CaO       แคลเซียมออกซิไจด์

 

 

-2-

6.  ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารประกอบไอออนิก

               .  มีความแข็งแต่เปราะ

               .  ในสภาพของแข็งไม่นำไฟฟ้า

               .  ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้

               .  มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง

7.  กำหนดให้  พลังงานแลตทิซ  แทนด้วย   DH1  พลังงานไฮเดรชัน  แทนด้วย   DH2

      ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการละลายของสารประกอบไอออนิก

               . พลังงานการละลาย      =       DH1     +      DH2 

               . พลังงานการละลาย      =       DH1     -      DH2

               . ถ้า  DH1   มีค่ามากกว่า    DH2  จะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน

               . ข้อ ก.  และ  ข้อ ค.  ถูก

8.  ในโมเลกุลของไนโตรเจน  ( N2 )  อะตอมทั้งสองสร้างพันธะกันแบบใด

. พันธะเดี่ยว               

. พันธะคู่

. พันธะสาม                

. พันธะโลหะ

9.  ข้อใดกล่าวถึงพันธะโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง

. เกิดจากอโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน

               . เกิดจากโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน

               . เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับอโลหะ

. เกิดจากอโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับโลหะ

10.  ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี   C   สร้างพันธะกัน

. พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  >  พันธะสาม

               . พันธะเดี่ยว  <  พันธะคู่  <  พันธะสาม 

               . พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  <  พันธะสาม

               . พันธะเดี่ยว  =  พันธะคู่  =  พันธะสาม

-3-

 13.  ข้อใดอ่านชื่อโมเลกุลตามสูตร  N2O3  ได้ถูกต้อง

               .  ไดไนโตรเจนออกไซด์

               .  ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์

               .  ไนโตรเจนไตรออกซิไจด์

               .  ไดไนโตรเจนไตรออกซิไจด์

14.  รูปร่างของโมเลกุล  CH4  มีลักษณะอย่างไร

.  ทรงสี่หน้า               

.  มุมงอ

               .  เส้นตรง           

.  พีระมิดฐานสามเหลี่ยม

15.  สารในข้อใดมีรูปร่างเป็นพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม

               .  PCl5                         

.  PBr3

                    .  NH3                                   

.  SiH4

16.  โมเลกุลใดต่อไปนี้เป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด

.  H2   ,   O2      

.  CHCl3    ,  BeCl2   

.  I2   ,   HBr       

.  H2O   ,   NH3

 

-4-

17.  แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้ว  ซี่งเป็นแรงอ่อน ๆ  เรียกว่า 

               .  แรงดึงดูดระหว่างขั้ว    

               .  แรงลอนดอน

               .  แรงวันเดอร์วาลว์

               .  พันธะไฮโดรเจน

18.  สารผสมระหว่างโมเลกุลต่อไปนี้ข้อใดมีพันธะไฮโดรเจนเกิดขึ้น

               .  CH4   กับ  BeCl2

                                        .  I2  กับ  C2H2

               .  H2O   กับ  C2H5OH

               .  C6H14   กับ  NaCl

19.  เพราะเหตุใด  เพชร  จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว สูงกว่าสารโคเวเลนต์ทั่วไป

               .  เพราะในผลึกของเพชรมีพันธะโลหะด้วย

               .  C  อะตอมเกิดพันธะโคเวเลนต์ กับอะตอมข้างเคียง  4  อะตอม

               .  การเปลี่ยนแปลงสถานะของ  เพชร  ต้องทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม

               .  ข้อ  ข.  และข้อ ค.  ถูก

20.  สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่นของโลหะได้ดีที่สุด

               .  โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก

.  โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ

.  อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้

.  ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลได้


ข้อสอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ


แบบทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ



1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร
     ก.  ดอลตัน
     ข.  ทอมสัน
     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด
     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
 ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน
    ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
    ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน
    ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน
     ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
  ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม
ข.นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมากภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน
   ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน
            ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ
            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ


 6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ
            ก.  31,  15,  15
            ข.  31,  16,  15
            ค.  16,  15,  15
            ง.  15,  31,  16

7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง
            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9
            ข.  2,  8,  1
            ค.  2,  6,  5
            ง.  1,  8,  2 

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง
            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม


10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ
      ก.  คาบ 3 หมู่ 7
      ข.  คาบ 7 หมู่ 3
      ค.  คาบ 2 หมู่ 7
      ง.  คาบ 3 หมู่ 8

11. ไอออนของธาตุ X มีจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนเท่ากับ 9 10 10 ตามลำดับธาตุ X มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
ก.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 19 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ข. X มีเลขมวลท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ค.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 11
ง.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ

เฉลย ตอบ ก. เพราะมีโปรตอน 9 แสดงว่าเลขข้างล่างคือ 9 นิวตรอน 10 แสดงว่าเลขบน - เลขล่างคือ 10


12. สารบริสุทธิ์ของธาตุ X ในข้อที่ 69 มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
ก. F2 .Cl2 ค.N2 ง.O2

เฉลย ตอบ ก. เพราะเมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ 2 7 คือหมู่ 7 5 2 นั่นคือ F อยู่ ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule

13.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของธาตุ X ในข้อที่ 69
ก. สาร X มีสถานะเป็นแก๊ส
ข. ไอออนที่เสถียรของธาตุ X มีประจุเป็น -1
ค. ธาตุ X พบได้ในบางส่วนของร่างกายคน
ง.ธาตุ X กับธาตุ Ca เกิดเป็นสารประกอบที่มีสูตร CaX

เฉลย ตอบข้อ ง เพราะ ข้อ 1 2 อยู่ในสถานะแก๊สไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อสารประกอบกับ Ca เป็นโลหะ


14. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน X2+ ที่มี 44 โปรตอนเป็นตามข้อใด
ก. [Ar] 3d10 4s2 4p5 4d5
ข. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d2
ค. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d6
ง. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d8            
                                                                                                                                                                                                             เฉลย ตอบ ค  เพราะจำนวนอิเล็กตรอน = 44-2 = 42 ซึ่งตรงกับข้อ 3 จำนวนอิเล็กตรอน = 18+10+2+6+6 = 42                                                                                                                                                 



บทพันธะเคมี

15. เพราะเหตุใดถ้าจะมีการสร้าง พันธะเคมี
ก. ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ข. ถ้าต้องการรับอิเล็กตรอนจากภาพอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ค. ถ้าต้องการใช้อิเล็กตรอนร่วมกับธาตุอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ง. ถ้าต้องการจัดอิเล็กตรอนวงนอกสุดให้ครบ เพื่อให้เกิดความเสถียร

เฉลย ตอบ ง.

16. ธาตุในข้อใดมารวมตัว กันโดยการสร้างพันธะโคเวเลนต์
ก. เหล็กกับฟลูออรีน
ข. แบเรียมกับกำมะถัน
ค. ฟอสฟอรัสกับโบรีน
.รูบิเดียมกับออกซิเจน

เฉลย ตอบ ง.

17. ข้อใดไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. การเคี้ยวข้าวก่อนกลืน
ข. การฟอกสบู่ในน้ำกระด้าง
ค. การทาแล็กเกอร์เคลือบผิวไม้
ง. การผสมกลีเซอรอล กับเอทานอล

เฉลย ตอบ ง.

18. พลาสติกชนิดหนึ่งนำมาทำสวิตไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีความแข็งมาก แต่เมื่อถูกความร้อนสูงมากๆจะเปราะและแตกหักได้ พลาสติกชนิดนี้น่าจะมีโครงสร้างแบบใด
ก. โครงสร้างแบบกึ่ง
ข. โครงสร้างแบบเส้น
ค. โครงสร้างแบบร่างแห
ง. โครงสร้างแบบกึ่งหรือแบบร่างแห

เฉลย ตอบ ค.

แบบทดสอบเรื่อง อุบัติเหตุและการป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการ

แบบทดสอบเรื่อง อุบัติเหตุและการป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการ


1.ข้อใดเป็นป้ายเตือนว่าสารเคมีชนิดนั้นเป็น"สารกัดกร่อน"

1.
2.
3.
4.

ตอบ ข้อ2 เพราะเป็นป้ายสารเคมีที่เอาไว้เตือนเกี่ยวกับระวังสารกัดกร่อน
2.ข้อใดเป็นการปฏิบัติงานกับสารเคมีอันตรายที่ถูกต้องและปลอดภัย 

ก. ใส่คอนแทคเลนส์เมื่อท างานกับสารเคมี    ข. สวมรองเท้าเมื่อทำางานกับสารเคมี 

ค. ถ้าไม่มั่นใจว่าเป็นสารเคมีอันตรายอย่างไร ให้ทดลองทาน้อยๆ ดูก่อน 

ง. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมตลอดเวลา

3.. เมื่อสารเคมีหกใส่ร่างกายหรือกระเด็นเข้าตา ต้องทำอะไรเป็นสิ่งแรก 

ก. รีบไปพบแพทย์ทันที 

ข. อาบน้ า หรือล้างตาด้วยน้ า นานอย่างน้อย 15 นาที 

ค. รีบรายงานให้หัวหน้าห้องปฏิบัติการทราบ 

ง. แจ้งผู้ร่วมงาน 


4. ข้อใดต่อไปนี้ห้ามทิ้งลงอ่างน้ำหรือท่อน้ำทิ้งโดยตรง 

ก. สารไวไฟ 

ข. สารตัวทำละลาย 

ค. สารไวปฏิกิริยากับน้ำ เช่น โลหะโซเดียม 

ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง 


5. เมื่อเกิดเหตุการณ์สารเคมีหกปนเปื้อนน้อย (minor chemical spill) ในหน่วยงานต้องทำอะไรเป็น สิ่งแรก 
ก. ทำความสะอาดบริเวณที่มีสารเคมีหก 
ข. หยุดการปฏิบัติงาน ปิดห้องแล้วรีบออกไป 
ค. แจ้งงานอาชีวอนามัยทันที 
ง. แจ้งให้ผู้ที่อยู่ในบริเวณนั้นทราบทันที 


6. ของเสียสารเคมีชนิดใดที่สามารถทิ้งลงอ่างน้ำหรือท่อน้ำทิ้งได้โดยตรง 
ก. สารไวไฟสูง 
ข. สารละลายบัฟเฟอร์ 
ค. ตัวทำละลายที่ไม่ละลายน้ำ
ง. สารไวปฏิกิริยากับน้ำ

7. ของเสียสารเคมีชนิดใดที่สามารถทิ้งลงอ่างน้ำหรือท่อน้ำทิ้งได้โดยตรง 

ก. สารไวไฟสูง 
ข. สารละลายบัฟเฟอร์ 
ค. ตัวทำละลายที่ไม่ละลายน้ำ
ง. สารไวปฏิกิริยากับน้ำ



8. เมื่อกรด HCl เข้มข้นหกในห้องปฏิบัติการ ควรใช้ neutralizing agent ตัวไหนเหมาะสมที่สุด 
ก. ผงถ่านคาร์บอน 
ข. โซเดียมไบคาร์บอเนต 
ค. น้ำประปา 
ง. ทราย 



9. วิธีใดเหมาะสมที่สุด สำหรับการต้มสารละลายเมทานอล 
ก. ต้มด้วยตะเกียงบุนเสน 
ข. ต้มในอ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ 
ค. ต้มภายในบีกเกอร์ใส่น้ำ ตั้งบนตะเกียงบุนเสน 
ง. ต้มบน hot plate



10. 

อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

1.ปิเปตต์

2.บิวเรตต์

3.กระบอกตวง


11. 

อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

1.บิวเรตต์

2.ปิเปตต์

3.บีกเกอร์



12. 

จงบอกเลขนัย    สำคัญของเลขต่อไปนี้ตามลำดับ 0.007020 และ 72.05

1.

4 และ 4 ตัว

2.

3 และ 4 ตัว

3.

7 และ 4 ตัว

4.

7 และ 3 ตัว


4.ขวดกำหนดปริมาตร

เเบบทดสอบพันธะเคมี

1.   หลักฐานสำคัญที่แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร                ก . สารมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน                ข . สารบางชนิ...